Podchaser Logo
Home
7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

webmaster

7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

A weekly Society and Culture podcast
Good podcast? Give it some love!
7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

webmaster

7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

Episodes
7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

webmaster

7 ตามใจท่าน (ธรรมะสากัจฉา)

A weekly Society and Culture podcast
Good podcast? Give it some love!
Rate Podcast

Episodes of 7 ตามใจท่าน

Mark All
Search Episodes...
Q: การยอมรับความจริงเป็นทางออกของหลายปัญหาจริงหรือไม่?A : ทุกข์ เวทนา นั้น มันไม่ได้เป็นของจริง เปรียบดังพยับแดดที่เหมือนจะมีจริงแต่มันไม่มีจริง พอเราเข้าใจว่ามันไม่ใช่ความจริง ยอมรับด้วยปัญญา เราก็จะไม่ทุกข์อีกต่อไป ให้เรานำธรรมะมาทำ มาปฏิบัติ
Q : อย่าเห็นแก่สั้นอย่าเห็นแก่ยาว (การผูกมิตร)A : การให้ทานเป็นหนึ่งในสังคหวัตถุ 4 เราสามารถรับและซื้อของให้กลับเพื่อผูกมิตร มิตรภาพมีค่าควรรับไว้ ทั้งนี้ให้ตรวจสอบสภาวะจิตว่าเราเป็นคนตระหนี่ไหม คือเค้าซื้อของให้แล้วไม่อยากซื้อให้กลับหรือไหม กา
Q : กายคตาสติหรือการตั้งสติไว้ในกายทำอย่างไร? A : กายคตาสติคือการตั้งสติไว้ในกาย ใช้กายเป็นฐานที่ตั้งของสติ สามารถทำได้หลายรูปแบบเช่นนัยยะของการนั่งสมาธิแล้วพิจารณากาย การพิจารณากายในอิริยาบถ การพิจารณากายในความเป็นปฏิกูล หรือพิจารณากายจากสถานท
Q : คอร์สออนไลน์ที่สอนให้บรรลุธรรมเป็นไปได้หรือไม่?A : การบรรลุธรรมได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับเหตุเงื่อนไขและปัจจัยเหตุแห่งการบรรลุธรรม คือการปฏิบัติตามมรรค 8 และเราจะไม่สามารถบรรลุธรรมได้แม้จะปฏิบัติตามมรรค 8 แล้วก็ตาม คือมีความเคลือบแคลงเห็นแย
Q : กิเลสมักเกิดขึ้นในใจ ในรูปแบบของความคิด ก่อนที่จะออกมาเป็นคำพูดหรือการกระทำใช่หรือไม่?    A : กิเลสเกิดจากจิตที่มีอวิชชาแฝงอยู่แล้วไม่มีสติรักษาเมื่อมีผัสสะมากระทบก็จะปรุงแต่งไปตามสิ่งที่พอใจหรือไม่พอใจออกมาในรูปแบบความคิดคำพูดการกระทำและเม
Q : ที่มาของ “ข้าวก้นบาตรพระ” A : คืออาหารที่เหลือจากการพิจารณาของพระได้มาจากสัมมาอาชีวะเป็นอาหารที่เกิดจากบุญจากศรัทธาของผู้นำมาถวายจากผู้รับคือพระสงฆ์พิจารณาแล้วจึงบริโภคอาหารนี้จึงเป็นอาหารทิพย์ Q : รักษาจิตด้วยอัปปมัญญา พรหมวิหาร และทิศทั้ง
Q : ปัจจัยการบรรลุธรรม?A : ตัวเราสำคัญที่สุด เพราะการบรรลุธรรมอยู่ที่จิต ส่วนองค์ประกอบอื่นๆ ทั้งกัลยาณมิตรและสถานที่ที่มีผลทำให้กิเลสเพิ่มขึ้นหรือลดลงเป็นสิ่งที่รองลงมา ถ้าเราอยู่ที่ไหนแล้วปัจจัยสี่ไม่ดี จิตใจไม่สงบ อาสวะเพิ่ม เราไม่ควรอยู่ตรง
Q: เป็นคนชอบคิดมาก ควรแก้ไขอย่างไร?A : ความคิดแยกเป็น 2 นัยยะ นัยยะแรกคือคิดเยอะ เช่น คิดด้านการงาน มีไอเดียในการคิดทำสิ่งต่าง ๆ ส่วนนัยยะที่สองคือคิดมาก เช่น ย้ำคิดย้ำทำ คิดปรุงแต่งมากเกินไป หดหู่ น้อยเนื้อต่ำใจ คิดวนลูป ไปในแนวอกุศล ซึ่งพอคิด
Q : ทำไมการเสี่ยงทายหรือการบนบาน จึงเป็นการให้กําลังใจได้?A : กำลังใจเกิดได้เพราะศรัทธา กำลังใจหมายถึง “วิริยะ” แปลว่าความกล้า วิริยะหมายถึงกำลังใจ การที่จะลงมือทำได้ มีกำลังใจได้ ต้องมีศรัทธา ส่วนการบนบานนั้นเกี่ยวด้วยอามิส การอ้อนวอน ขอร้อง ด
Q : การฝึกสมาธิแบบไม่มีเสียงอะไรเลยกับฟังธรรมะไปด้วย มีผลแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร?A : เราควรฝึกให้ชำนาญทั้ง 2 แบบ เราทำได้ตรงไหน ให้ทำตรงนั้นก่อน แล้วฝึกให้ชำนาญยิ่ง ๆ ขึ้นไป พอชำนาญแล้ว โอกาสที่เราจะบรรลุธรรมก็จะเพิ่มขึ้น เพราะจุดที่จะบรรลุธร
Q : ได้ฟังสวดอภิธรรม เมื่อตายแล้วจะได้ขึ้นสวรรค์หรือไม่? A : การสวดอภิธรรมพึ่งมีในสมัยนี้ เป็นพิธีของคนเป็น ตายแล้วจะได้ขึ้นสวรรค์หรือไม่ ขึ้นอยู่กับการรักษาจิต ว่าเราระลึกถึงความดีของเราได้หรือไม่ Q : เมื่อข้อปฏิบัติละเอียดขึ้น กิเลสละเอียด ที
Q : การศึกษาพุทธศาสนามี 2 ด้าน หรือมีด้านเดียว?A : พิจารณาได้ทั้ง 2 นัยยะ นัยยะแรกพิจารณา 2 ด้านคือ พิจารณาทั้งประโยชน์และโทษ อีกนัยยะหนึ่ง พิจารณาด้านเดียว คือพิจารณาทางสายกลาง/มรรค 8 เมื่อพิจารณาแล้วเข้าใจในข้อที่เป็นทางสายกลาง กิเลสก็จะลดลงQ
Q : สุขอย่างไรไม่ประมาท A : เวลาที่เรามีความสุขความสำเร็จ เราไม่ควรประมาท เพราะจะมีอาสวะบางเหล่า ที่จะเกิดขึ้นต่อเมื่อคุณมีชื่อเสียง มีลาภยศสักการะ หากเราเพลินเราพอใจไปในความสุขความสำเร็จ จะเกิด “อกุศล” / ถ้าเรามี “สุขเวทนา” แล้วเรายินดีพอใจ เพ
Q : คำถามในวันงาน 21 ม.ค. เกี่ยวกับมูลนิธิปัญญาภาวนาและกิจกรรมA : มูลนิธิปัญญาภาวนาเกิดขึ้นเพื่อความสะดวกในการจัดการระบบการจัดรายการธรรมะ  Q : ค่าของคนไม่เท่ากัน? คนรวยคนจนทำบุญได้บุญไม่เท่ากัน? วัดจากอะไร?A : พระพุทธเจ้าและเหล่าพระอริยะเจ้า ท่
Q : กุศลและอกุศลกรรรมบทในปัจจุบัน ?A : ท่านเคยเทศน์ไว้ว่า ในสมัยต่อมา อกุศลจะเจริญขึ้น กุศลจะเสื่อมลงไป โลกเราจะมีราคะโทสะโมหะเพิ่มมากขึ้น หมายถึงช่องที่จะรอดไปสู่นิพพานก็จะมีน้อยลง มนุษย์ช่วงนี้เป็นขาลง จิตใจจะแย่ลง พระพุทธเจ้าจึงอุบัติขึ้นเพ
Q : เหตุใดเมื่อกายดับ จิตจึงไม่ดับตามกาย?A : จิตกับกายล้วนมีความเกิดและความตายอยู่ทุกขณะ ที่เราเห็นมันต่อเนื่องเพราะมันเป็นความต่อเนื่องของกระแสที่เกิดและดับอย่างรวดเร็ว กายเราประกอบกันขึ้นจากหลาย ๆ เซลล์รวมกันเป็นอวัยวะ มีเซลล์ที่ตายและเซลล์ให
Q : ควรวางจิตอย่างไร สำหรับผู้ที่เริ่มปฎิบัติและผู้ที่รู้สึกว่ายังปฎิบัติแล้วยังไม่ก้าวหน้า?A : เปรียบดังคนจมน้ำที่ยังขึ้นอยู่ด้วยกาม จะว่ายน้ำเข้าฝั่งได้หรือไม่ ตรงนี้เป็นจุดที่เราจะเข้าฝั่งได้โดยไม่จม คือคุณธรรม 5 อย่างนี้ ได้แก่ ศรัทธา หิริ
Q : อธิบายธรรมะ 5 ประการที่ทำให้ถึงวิมุตติ  A : 5 ประการนี้ จะทำให้ได้บรรลุอรหันต์, เป็นอนาคามี, ทำให้เกิดความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ความดับ ความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม นิพพานได้, ทำให้เกิดความสิ้นอาสวะ, ทำให้มีเจโตวิมุตติ, ปัญญาวิมุตติ เป็นอานิสงส
Q : เมื่อคนรักเปลี่ยนไป ธรรมะข้อไหนที่ช่วยคลายความทุกข์ใจ? A : ท่านเคยเตือนไว้ เมื่อเรารักสิ่งใด สิ่งนั้นจะมาเป็นทุกข์กับเรา เราจะออกจากทุกข์ได้ เราต้องเห็นด้วยปัญญา คือ เราต้องเห็นโทษของมัน ว่ามันเสื่อมไปได้ หายไปได้ ไม่ยั่งยืน ซึ่งความรักชนิด
Q : นอกจากมรรค 8 แล้ว อะไรที่จะเป็นกัลยาณมิตรได้อีก? A : กัลยาณมิตร 4 ประการ ได้แก่ 1. มรรค8 2.คฤหัสถ์/ฆราวาส ดูที่คุณธรรม 4 อย่าง ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา 3.นักบวช/พระสงฆ์ ดูที่ 4 อย่าง คือ ดูที่ศีลจากการที่อยู่ร่วมกัน, ดูที่ความสะอาด
Q : อุปกิเลส 16 ? A : ใน “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ที่ท่านได้สอนไว้ แบ่งได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ คือ     1.) ส่วนที่เป็นฝ่ายดำ คือ "อวิชชา" (ทุกข์, สมุทัย) สิ่งที่ควรทำคือ เราต้องละ ไม่ทำ และกำจัดสิ่งที่ไม่ดีออก ลักษณะของมันคือ มันจะเหนียวหนืด คืบคลานไป
Q : บทบาทของคณะสงฆ์ต่อสังคมไทยในยุคปัจจุบันA : ท่านได้ให้หน้าที่ที่พระสงฆ์จะต้องทำเอาไว้ 6 หน้าที่ คือ 1) ห้ามเสียจากบาป 2) ให้ตั้งอยู่ในความดี 3) ให้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยได้ฟัง 4) ทำสิ่งที่ได้ฟังให้แจ่มแจ้ง 5) อนุเคราะห์ด้วยใจอันงาม 6) บอกทางสวร
Q: โรคภัยไข้เจ็บเกิดจากกรรมเก่า ใช่หรือไม่?A: อาจจะใช่หรือไม่ใช่ ถ้าเราเชื่อว่าเป็นเพราะกรรมเก่าอย่างเดียว ความเชื่อนี้เป็นมิจฉาทิฎฐิ เพราะคิดเช่นนี้ จิตเราจะไม่น้อมไปเพื่อที่จะทำอะไร ไม่ทำสิ่งที่ควรทำ ไม่ละสิ่งที่ควรละ คนเราจะได้รับทุกข์หรือสุ
Q: ทำไมคนที่ทำความดีถึงได้มีคนเกลียด? A: เราต้องทำความเข้าใจก่อน ดีและเกลียด หมายถึงอย่างไร คำว่าดีหรือไม่ดีแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดีของเขาอาจจะไม่ดีของเรา เพราะฉะนั้น คำว่าดีหรือไม่ดี มันขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งแต่ละคนไม่เหมือนกัน เราอย่าเอาข้อน
Q: อริยทรัพย์ที่ได้จากการฟังธรรม A: เมื่อเราฟังธรรม แล้วเกิดศรัทธา นำไปทำ นำไปปฏิบัติ เป็นวิริยะ คือ ความเพียร มีสติ เป็นสมาธิขึ้นมาและเกิดปัญญาตามต่อมา ปัญญาในที่นี้ คือ ปัญญาที่จะปล่อยวางความยึดถือQ: เป็นทุกข์เพราะมีหนี้สินรุงรัง จะมีวิธีแก้ไ
Rate

Join Podchaser to...

  • Rate podcasts and episodes
  • Follow podcasts and creators
  • Create podcast and episode lists
  • & much more

Unlock more with Podchaser Pro

  • Audience Insights
  • Contact Information
  • Demographics
  • Charts
  • Sponsor History
  • and More!
Pro Features