Podchaser Logo
Home
Ep.16 High Power Presentation พรีเซนต์งาน อย่างไรให้คนประทับใจ กับ Natty ex-Facebook & ex-Google

Ep.16 High Power Presentation พรีเซนต์งาน อย่างไรให้คนประทับใจ กับ Natty ex-Facebook & ex-Google

Released Saturday, 1st August 2020
Good episode? Give it some love!
Ep.16 High Power Presentation พรีเซนต์งาน อย่างไรให้คนประทับใจ กับ Natty ex-Facebook & ex-Google

Ep.16 High Power Presentation พรีเซนต์งาน อย่างไรให้คนประทับใจ กับ Natty ex-Facebook & ex-Google

Ep.16 High Power Presentation พรีเซนต์งาน อย่างไรให้คนประทับใจ กับ Natty ex-Facebook & ex-Google

Ep.16 High Power Presentation พรีเซนต์งาน อย่างไรให้คนประทับใจ กับ Natty ex-Facebook & ex-Google

Saturday, 1st August 2020
Good episode? Give it some love!
Rate Episode

Ep.16 High Power Presentation

เราพรีเซนต์งานได้ดีแล้วจริงหรอ?
มีอะไรที่เราต้องรู้อีกหรอเกี่ยวกับการพรีเซนต์งาน?
เราพรีเซนต์งานให้ลูกค้าทุกวันมีอะไรที่คิดพลาดไหม?

วันนีผมเลยชวนคุณนัตตี้ ผู้ที่มีประสบการณ์เรื่องนี้โดยตรงแถม
ยังมีรางวัล English Speaking Union – Speech Global Competition ตัวแทนประเทศไทย ชนะที่2ของโลก ปี 2008
มาการันตีด้วย มาเล่าเทคนิคที่จะช่วยในการพรีเซนต์งานของเพื่อนๆ ทุกคนออกมา
ดีสกว่าที่คีย์อ่านมาถึงตรงนี้แล้วยังไม่เก็ท ลองฟัง

B: 1.7 วินาทีฉันตัดสินใจได้เลยว่าฉันอยากจะฟังเธอหรือไม่อยากจะฟังเธอ เพราะฉะนั้นวิธีที่จะดึงเขากลับมาดึงจิตวิญญาณเขากลับมาคือการ เรียกชื่อเขานั่นเอง

A: สวัสดีครับวันนี้กลับมาเจอ Suponchai.Com กับ Podcast นะครับ Podcast เรื่องของการตลาด Local Marketing และ Facebook Marketing ครับ สำหรับวันนี้นะครับเราจะมาเจอกับบุคคลพิเศษอีกแล้วที่เอาจริงๆนะหาตัวจับยากมากผมอยากคุยกับเธอมานานนะครับผม ขอต้อนรับกับคุณแนตตี้ครับ

B: สวัสดีค่ะ สวัสดีค่ะ

A: แนะนำตัวเองหน่อยนะแนตตี้ว่า เป็นใคร มายังไง แล้วก็วันนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องอะไรกันครับ

B: โอเคค่ะแนตตี้นะคะ กัญญารัตน์ ปิติเจริญ ค่ะ เคยทำงานอยู่ที่บริษัท Google ที่สิงคโปร์ เคยทำงานอยู่ที่ Facebook สิงคโปร์ Facebook Thailand ทุกวันนี้อยู่ในบริษัทอีคอมเมิร์ซชั้นนำค่ะ วันนี้นะคะที่เราจะคุย กันเนี่ยคือเรื่อง High Power Presentation ว่าเราไปพรีเซนต์เราควรจะมีเทคนิคอะไรยังไงบ้าง ซึ่งเมื่อกี้ที่พูดมาเคยทำงานที่ Google เคยทำงานที่ Facebook ต้องบอกเลยว่าการที่ได้ทำงานที่ 2 บริษัทนี้เนี่ยก็ได้ขึ้นเวทีมาหลายเวที ก็เลยอยากจะมาแชร์ให้ทุกคนฟังว่าไม่ว่าจะเป็นเวทีใหญ่เวทีเล็ก หรือแม้กระทั่งในห้องประชุมคุณ Marketer ทั้งหลาย เราควรจะมีวิธีวางตัวและวิธีการพูดยังไงให้ได้ดีค่ะ

A: ผมต้องบอกก่อนนะว่าทำไมเรื่องนี้ผมต้องคุยกับคนนี้เพราะว่า ถ้าในความคิดผมนะผมว่าคุณแนตตี้เป็นคนหนึ่งในชีวิตที่ผมเคยเจอมาโดยที่ถ้าไม่ใช่ Steve Jobs ก็คือคนนึงที่พรีเซนต์ดีที่สุดในประเทศผมว่านะ เพราะงั้นก็เลยต้องขอมาเอาอย่างนี้ดีกว่ามาให้คุณแนตตี้มาแชร์วิธีการหน่อยดีกว่า การที่เราจะทำ High Power Presentation หรือว่าทำให้มัน Impact กับคนที่เขาฟัง ตั้งแต่วิธีการเตรียมตัว วิธีคิด วิธีการวาง หรือไม่ก็เอาง่ายๆที่มันจับต้องได้อย่างเช่น การทำสไลด์ มันต้องคิดยังไงพอจะมีอะไรที่จะแชร์ให้กับคนฟัง Suponchai.Com กับ Podcast ได้บ้าง โอเคไหม

B:  ok ได้เลย

A: งั้นมา อย่างแรกก่อนคือผมขอดีไฟน์ก่อนว่าคำว่า High Power Presentation

B:  เป็นคำถามที่ดีมากค่ะมีคนเคยบอกแนตตี้มาครั้งหนึ่งนะ It’s not what you say but is How you Made The feel เพราะว่าจริงๆแล้วเวลาคนฟังไม่ว่าจะเป็น Presentation หรือว่าพูดใน Meeting เอาจริงๆนะคนจำ Content แทบไม่ได้เลยด้วยซ้ำ  แต่เขาจะจำได้ว่า Meeting นั้นคนคนนั้นที่มาพูดทำให้เขารู้สึกอย่างไร How to sit with that person feel. จริงๆคีย์ของ Power Presentation เนี่ย หรือว่า Power Meeting คีย์สำคัญเลยคือเราทำยังไงได้บ้างให้ใน Meeting นี้ไม่ได้เป็นแค่ Meeting อีก Meeting นึงของคนๆนั้น แต่เป็น Meeting ที่เขาอยากจะกลับมาคุยกับเราแล้วก็ชอบใน Content ของเรา แล้วพยายามมากกว่าปกติในการที่จะเข้าใจในสิ่งที่เราจะพูดค่ะ 

A: โอเคเพราะว่าจริงๆสุดท้ายแล้วคนเรา โอเคในส่วนของเนื้อหาสาระทางธุรกิจหรืออะไรก็แล้วแต่ที่เราจะไปคุยกับเขามันสำคัญเนาะแต่สุดท้ายสิ่งที่อยู่ในใจคนมันคือ Emotional filling ที่เราทิ้งไว้ให้เขามากกว่าถูกไหม

B: ใช่ คนคนนี้น่าจดจำและโดดเด่น แบบโดดเด่นกว่าคนอื่นมากน้อยขนาดไหน จริงๆวันนี้ที่อยากจะเล่าให้ฟังมันมีคีย์หลักๆอยู่ 3 อย่าง อย่างที่ 1 เลยเนี่ยคือการวางตัว 2 ว่าเราจะเริ่มแล้วเราจะจัดฉากยังไงได้บ้าง 

A: วิธีการที่จะทำให้เราได้Presentation ที่ลิฟความรู้สึกอารมณ์ที่คนจำเราได้มันต้องมี 3 อย่างคือ 1 การวางตัว

B:  2 ว่าเราจะจัดฉากยังไงได้บ้าง และสุดท้ายคือเมื่อเราเข้าเรื่องตรงนี้ มันมีเทคนิคการเข้าเรื่องยังไงได้บ้าง ในการคุม conversation ตรงนี้ คนที่ฟังอยู่เราจะมี Content ที่เราเตรียมมาอยู่แล้วไม่ว่าจะเป็น annual Report Quarterly Business Review มาพีทงาน มาขายของ อะไรแล้วแต่อันนี้แนตตี้เชื่อว่าทุกคนที่ฟังอยู่เก่งในด้านของตัวเองคงเตรียม Content มาเพียงพอมันมีแค่คีย์เทคนิคอยากที่จะเล่าให้ฟัง หลักๆเลยที่ใช้ได้ทุก Meeting ไม่ว่าจะเป็นเวทีเล็กหรือเวทีใหญ่ค่ะ

A: โอเคงั้นไม่ให้เสียเวลางั้นก็แชร์เลยดีกว่าว่า งั้นอย่างแรกที่จะต้องคิดในการเตรียมตัวไหนบอกว่าเป็นเรื่องของการวางตัวเนาะ ต้องทำยังไงบ้าง

B: ใช่แล้ว โอเคพี่เอกเวลา High Power การวางตัวสำคัญมากๆจริงๆแล้ว speaker ส่วนใหญ่ค่ะเวลาเข้าไปเป็น speaker เขาจะไปลองเทสไมค์แล้วขึ้นเวที เวลาเราอยู่ใน Meeting ปกติทำไมเราไม่ทำแบบนั้นเราเดินเข้าห้องไปเลยเราไม่เคย

A:  แต่ไม่เราต้องทำยังไง Meeting Room มันไม่มีเวทีที่มี Stage อยู่

B: ใช่ แต่เธอก็ยัง present ไม่ว่าจะเป็นวิธีสูง เวทีเตี้ย หรือในห้องประชุม เธอก็ยืนอยู่ดีเธอก็ควรจะ treat มันเหมือนกับว่าพวกเวทีใหญ่อย่างเช่น เข้ามาในห้องก่อนสำรวจห้องก่อนคือเหมือนเช็คห้องเลยค่ะ ประตูอยู่ไหนง่วงจุ้ยเป็นยังไง หยินหยางเป็นยังไง ลมผ่านไปทางไหนลองเดินทั่วๆมันก่อนว่าถูกโฉลกกับมุมไหนของห้อง ตรงเวทีมันไม่ใช่แค่ตรง Shot Presentation ตรงโปรเจคเตอร์ว่า ควรจะยืนตรงไหน เราไม่ควรจะบังโปรเจคเตอร์อยู่แล้ว เราถนัดซ้ายเราถนัดขวาเราควรจะยืนฝั่งไหน แต่อีกส่วนนึงเลยคือลองนั่งเป็นคนที่ฟังดูลองนั่งในมุมหลังสุดว่าเขามองเห็นเราไหม หรือลองนั่งในมุมหน้าสุดว่าเขาเอี้ยวมากไปหรือเปล่า คอเคล็ดหรือเปล่า

A: ถ้างั้นการทำอย่างนี้ได้จริงๆผมว่าอย่างแรกเราต้องมีวินัยก่อนไหม ไปที่ Meeting ก่อน ก่อนเวลา

B: ใช่ อ้าวเธอมาสายเหรอนี่ นี่พูดมาตั้งนานเธอมาสายเหรอนี่

A: แต่ว่าจริงๆมันเป็นวินัยที่ดีที่เราควรมีเลยนะการเป็น Presentation โดยเฉพาะการเป็นพรีเซนเตอร์ที่ดีใน Meeting ที่สำคัญๆ มันต้องไปให้ถึงที่ Meeting ก่อนถูกไหม ไม่ใช่ไปเพื่อหวังว่าไปถึงห้อง Meeting เข้าไปปุ๊บ Present เลยถูกไหมแล้วเสร็จแล้วถึงจะมีเวลามาดูว่าในห้องนั้นบรรยากาศมันเป็นยังไง

B: คู่ควรค่ะ เธอรู้ไหมว่ามันมี Research อันนึงที่บอกว่า แค่มองตาก็รู้แล้วว่าคนๆนี้เราจะจ้างหรือไม่จ้าง เวลาเราไฮท์ลิ่งคนหรือเราสัมภาษณ์คนมันมี Research บอกเลยว่า แค่มองตาพี่เอกแค่ 3 วิคนคนนั้นได้ตัดสินใจลึกๆในใจแล้วว่า คนคนนี้ใช่หรือไม่ใช่ยังไงในการจอยทีมมันคือ Concept ของ First impression นั่นเองถ้า First impression ของเราเป็นการวิ่งเข้ามาแว๊นมาหรือเปล่าคะหัวมอเตอร์ไซค์มาเลยค่ะทีเดียว แหมเป็นการเข้ามาหาสายต่อสายแจ็คไม่เจอ ก็ไม่รู้จะยืนตรงไหน ไม่รู้จะสวัสดีใคร ไม่รู้ว่าใครเป็นใคร ก็จะไม่สวยอ่ะเนาะ

A: อ๋อโอเคได้งั้นเรามาต่อกันว่าคราวนี้เรื่องแรกก่อนว่าตำแหน่งในห้องไม่ว่าจะเป็นหลังห้องจะเห็นเราไหมอย่างนี้ พอเข้าไปดูในห้องเสร็จลองดูหลังห้องแล้วปุ๊บ แล้วเราควรดูยังไงว่า ตำแหน่งไหนที่มันเหมาะที่จะอยู่ Present ใน setting แบบหลักๆที่เรามักจะเจอกันเวลาไป Meeting 

B: คีย์เลยคือการมองตาคือสายตาวิ้งวิ้ง ถ้าเรายืนแล้วเรารู้แล้วว่าคนหลังห้องเห็นแค่หัวเราแต่ไม่เห็นตาเรา หรือว่าหัวขาดเห็นแค่ตัวเพราะอีกคนข้างหน้าบัง อันนี้เสียแล้วแน่นอนคนๆนี้ ไม่ว่าเขาจะตั้งใจฟังแค่ไหนถ้าเขาไม่เห็นตาเรา ไม่เห็นหน้าเรามันยากที่ใครคนนึงจะตั้งใจฟังได้ตั้งแต่ต้นจนจบ เพราะฉะนั้นจุดที่เราจะยืนเราจะ make sure เลยให้จินตนาการภาพห้อง Meeting room นั้นมันเต็มไปด้วยคนเรียบร้อยแล้ว คนหลังสุดเห็นหน้าเราไหม คนหน้าสุดเห็นหน้าเราไหม คนข้างๆเอี้ยวไหวไหมถึงจะเห็น Concept เดียวกันเหมือนกันถ่ายรูปกลุ่มพี่เอก เวลาเราถ่ายรูปกลุ่มเนี่ย ถ้าเธอเห็นกล้องเธอก็มีหน้าติดอยู่ในรูป แต่ถ้าเธอมองไม่เห็นกล้องหน้าเธอไม่ได้อยู่ในรูปแน่นอน 

A: ต้องหาที่ยืนให้ตัวเอง

B: หาสปอร์ตไลท์ให้ได้ค่ะ Concept เดียวกัน กล้องควรจะอยู่ตรงไหนกล้องก็คือตัวเราเองนั่นเอง กล้องควรจะอยู่ตรงไหนให้เห็นแววตาของคนทุกคนในห้องนั่นคือ Shot ที่เราจะยืน แต่ไม่จำเป็นจะต้องยึดฮวงจุ้ยตรงนั้นนะไม่ต้องเป็นหุ่นยนต์ฟิคอยู่ตรงนั้น จริงๆคนเรามันมาจากแก๊ง caveman caveman คือชาวอุงก้าๆ

A:  มนุษย์ถ้ำอุบะๆ

B: อุบะๆๆ ไอ้แก๊งอูบ้าๆ สัญชาตญาณของคนเวลาเราเห็นอะไรที่มันขยับเราจะความสนใจเราจะเบนไปทางนั้นทันที เป็นสัญชาตญาณการเอาตัวรอด เพราะฉะนั้นพรีเซ็นเตอร์ที่ยืนเฉยๆก็เหมือนกับไอ้ก้อนหินก้อนนั้นที่ยืนอยู่เฉยๆ มันยากมากที่ชาวอุงก้าๆจะเบนความสนใจไปหาเธอได้เพราะเธอช่างนิ่งเฉยซะเหลือเกิน

A: เพราะฉะนั้นในการ Present อันนี้เหมือนต่อเลยไหมว่ามันก็เลยต้องมีการขยับตัวบ้างอย่างน้อยที่สุดมีโพสเจอร์ที่ขยับไปขยับมาหรือมีการเดินไหม

B: นิดนึง ก้าว Step ก้าว Step ก้าว ไม่ต้องเดินเยอะ ฉันไม่ได้เต้นรอบนึง เดินนิดหน่อย ก้าว Step ก้าว ไม่จำเป็นต้องเป็นก้อนหินค่ะ ต่อเลยกับการวางตัวเมื่อกี้เราวางกล้องเรียบร้อยเราเห็นสายตาทุกคนแล้ว ในห้องเนี่ยมันคงมีหลายสายตาอยู่แหละ Presentation ล่าสุดพี่เอกไปพรีเซนต์ต่อได้กี่คน

A: ก็ปกติก็จะเจอคนเยอะแหละเนาะเกือบ 10 เกือบทุกครั้ง

B:  10 20 30 40 ว่าไปมันยากมากที่เราจะสบตาวิ้งวิ้งไปยัง 10 20 30 40 คนได้ แนตตี้ขอแนะนำตรงนี้เลยคือกฏ North East South West 

A:  North East South West คือสี่มุม

B: ใช่ ไม่ใช่ คัน เย เวส นะ North East South West คือ 4 มุมนั่นคือเธอล็อคไว้เลย 4 มุมเมืองของเธอจะเป็นใคร โมเมนต์ที่เริ่มพูดปุ๊บเธอจะรู้เลยว่าเธอถูกสายตาถูกโฉลกกับใครในมุม North East South และ West และก็มองไปเป็น 4 มุม North East South West 

A: แต่คนที่ไม่ได้อยู่ตรงมุมล่ะเขาจะ  Lost Attention จากเราไหมอ่ะ

B: Surprise English นะ North East South West เวลาเรากวาดสายตาจาก North ไป East South ไป West คนที่ผ่านระหว่างทางเขาจะรู้สึกถึงไอรักไออุ่นจากสายตาเราไปเอง

A: อ๋อรังสีของเรามันจะส่งถึงเขาแพร่ออกไปจากข้างนอก

B: ใช่ๆ

A: เป็นเทคนิคที่ดีมากเลย เพราะฉะนั้นเราก็ไม่เหนื่อยมากในการโฟกัสทั้งห้องขนาดนั้น คือรูดไปทั้งห้องมันก็ไม่ไหว

B: ตรงที่เลือกคน North East South West พี่เอกเลือกคนที่ยิ้มไปกับเรา อย่าเลือกคนที่ไม่สนใจเรา เพราะถ้าเลือกคนที่ไม่สนใจเราเดี๋ยวจะทำให้สปิริตของเราตกได้ เลือกคนที่เราชอบอ่ะคนที่ดีๆเป็นตัวแทน

A: เราจะรู้สึกว่าเข้าไปแล้วพอมองตาเขาไม่ตอบเลยว่ะท้อใจ

B: ไม่สบตาเลยว่ะ เอาจริงๆนะบางทีนะใน section ที่ Meeting ใหญ่มากๆแนตตี้เอาทีมตัวเองนี่แหละค่ะไป North East South West เอาทีมของตัวเองเลยไปนั่งสี่มุมเมืองแล้วบังคับมันให้พยักหน้าตามจังหวะแค่นี้ก็เป็น empowerment ที่ดีที่สุดสำหรับพีเซ็นเตอร์แล้ว

A: เอาหน้ามาไปใส่ มันจะต้องสร้างบรรยากาศ จริงๆมันเป็นเรื่องของคนที่เป็นโชว์มาสเตอร์เลยนะ เราวางว่าในเมื่อมันดูจะเป็นทราฟคาวก็เอาคนไปใส่ตรงนั้นมันก็จะช่วยอย่างน้อยสุดเซออัพในแต่ละมุมให้ได้ แต่ถ้าอย่างมันเป็นมันเป็นการ present ใน Theater ซึ่งมันค่อนข้างจะลำบาก เพราะหนึ่งเราอยู่ในที่ต่ำเขามองเราลงมาแล้วอีกอย่างนึงคือการมอง North East South West ของเรามันจะกลายเป็นว่าเราต้องมองแบบหลากหลายเลย อันนี้เรามีเทคนิคพิเศษอะไรเพิ่มเติมไหม ถ้ามันเป็น Theater คนเยอะๆ

B: ลองเล่นเป็น trapezoid ไหมคะ trapezoid คือสี่เหลี่ยมคางหมู North East South West เป็นสี่เหลี่ยมคางหมู จังหวะปลายทางเราขึ้นเฉียงๆขึ้นไป ก็ยังสี่มุมเมืองอยู่ดีเป็นการกวาดสายตาที่ดีในการ make sure ทุกคนได้ความรักจากเราไปค่ะ

A: practical มากทำตามได้ทันทีทั้งแบบห้องใหญ่และห้องเล็ก เรื่องการวางตัวมีอะไรเพิ่มเติมอีกไหมนอกจากเรื่องของการหาตำแหน่งที่เหมาะสม การดูว่า Eye contact ถึงไหม แล้วก็เรื่องของ North East South West นี่คือมันจำอย่างนี้ไปแล้วนะเนี่ย

B: North East South West 

A: North East South West 

B: ออกเสียงค่ะ North East South West โอเคค่ะเรียบร้อยแล้วกันวางตัวยืนสวยเรียบร้อย ทุกคนมองเห็นชัดทุกคนได้ความรักของสายตา ต่อมาเริ่มเลยแล้วกันการตั้งฉากของเราว่า เราจะตั้งฉาก Meeting นี้กับ Content นี้แบบไหน 

A: ตั้งฉากหรือจัดฉากเนาะก็คือเราจะจัด Set ซีน ป่ะมันออกมายังไง ยังไงบ้าง

B: Set ซีน ออกมา มันมีอะไรที่เรียกว่า Existential crisis ก็คือ Who What When Where Why How นั่นเอง คือเวลาคนมา join Meeting อันนี้ประสบการณ์ตรงเลยนะ อยู่ดีๆนะแค่พี่เอกคนเดียว พี่เอกมาพร้อมกับลูกทีมอีก 5 คน

A: เจอประจำ

B: เจอประจำ จริงๆตั้งใจจะมาคุยแค่คุณ A B C D E F G เข้ามาเต็มไปหมดเลย B C D E F G จะเกิด Existential crisis แปลว่า ฉันเกิดมาทำไม ฉันเข้ามาในห้องนี้ทำไม

A: ฉันมาทำอะไรที่นี่

B: ฉันไม่มาได้ไหม ฉันออกไปได้หรือเปล่าอะไรหรือแบบไม่รู้ไม่รู้เลย

A: แต่เขาถูกลากเข้ามาถูกป่ะ

B: ถูกลากเข้ามาเกิดขึ้นบ่อยมาก แล้ววิธีที่เราควรจะเริ่มต้นการจัดฉากของเรา หรือการตั้งฉากของเราว่าเราจะพรีเซ้นต์เรื่องอะไรคือเริ่มด้วย Who What Why และ How นั่นเองเริ่มด้วย Who คนที่ชวนเรามา Meeting เขารู้ว่าเราเป็นใคร แต่ว่าน้อง B น้อง C น้อง D ที่โดนลากมาไม่ทราบ

A: ไม่ทราบ แล้วเราต้องทำยังไง

B: แนะนำตัวค่ะ บางทีอ่ะ บางทีเราจะคิดว่าการแนะนำตัวมันควรจะทำในเวทีใหญ่ แต่ว่าใน Meeting ส่วนใหญ่เราจะไม่แนะนำตัว เราจะลืมแนะนำตัวไปจะรีบเข้าเรื่องซะรวดเร็ว เพราะว่า Meeting มันอาจจะสั้นเลยหรือว่าต้องรีบเซลพิชแรงๆ แนะนำตัวก่อนแล้วแนะนำตัวเสร็จปุ๊บเล่าให้ทุกคนฟังในห้องว่าวันนี้เรามาทำอะไร แล้วจบวันนี้ผ่านชั่วโมงนี้เราต้องการอะไร พูดเลย

A:  Set Ground เลยว่าฉันเป็นคนๆนี้

B:  Set Ground เลย

A: แล้วเรามาทำอะไรด้วยกันจะได้ให้ activity นี้มันเคลียร์ว่าตกลงจะใช้เวลาอยู่ด้วยกันตรงนี้ยังไงถูกไหมครับ แล้วก็คาดหวังอะไรกับสิ่งที่เราจะกำลังทำด้วยกันอยู่ตรงนี้มีเป้าให้เห็นชัดเจน

B: ถูกต้องซึ่ง Who ตรงนี้มันไม่ได้เป็นการสัมภาษณ์งานไม่ใช่ แนตตี้ กัญญารัตน์ ปิติเจริญ ทำงานอยู่ที่ …… วันนี้มาเป็นตัวแทนของบริษัท….ไม่เอา เอาเป็น Conversation  ก็เป็นแนตตี้นะคะเรียกสั้นๆว่าแนตตี้นั่นเอง เรียกสั้นๆว่าแนตตี้นะคะมาจากบริษัทนี้ วันนี้รู้สึกตื่นเต้นมากเลย วันนี้รู้สึกดีใจมากเลย วันนี้รู้สึกไม่รู้สิรู้สึกอะไรก็ได้คือมีความเป็นตัวของตัวเองนิดนึงตั้งแต่ประโยคแรกมันจะช่วยเปิดการจัดฉากว่า Meeting นี้จะเป็นแบบไหน 

A: เหมือนมันทำให้เรายูนิค และ live impression ให้คนจำเรา

B: ใช่

A: คืออะไรคนที่แตกต่างประมาณคนนึงในหัวเขาได้ง่ายขึ้นเลยถูกไหม แต่ว่าบางคนอาจจะรู้สึกไม่สบายใจที่จะเป็นตัวของตัวเองตั้งแต่เริ่มต้นอย่างนี้ ถ้าอย่างนี้ในมุมของแนตตี้แนตตี้คิดว่ายังไง ตัวตนฉันเป็นคนแบบฮาร์ดคอร์จะมาฮาร์ดคอร์ตั้งแต่วันแรกอย่างนี้มันใช่ไหมอย่างเนี้ย

B: แล้วแต่บริษัทนะ บางบริษัทเขาก็มี impression และ branding ที่เขาต้องการให้เราถือออกมาอันนี้ก็แล้วแต่แล้วกัน เธอเลือกบริษัทนั้นแล้วเธอก็เลือกทำตามบริษัทนั้น แต่ด้วยประสบการณ์ของแนตตี้สุดท้ายแล้วไม่ว่าจะเป็น Meeting หรือไม่ว่าจะเป็น C Level หรือจะเป็น Manager หรือจะเป็นมินเนี่ยน ทุกคนก็คือคน ทุกคนก็ คือคนที่กำลังคิดอยู่ว่าเที่ยงวันนี้จะกินอะไร และกำลังคิดอยู่ว่าเย็นนี้จะชวนแฟนไปกินข้าวที่ไหน หรือว่า PM 2.5  ตอนนี้เป็นยังไง รถติดหรือเปล่า มันก็คือคนนั่นเองทุกคนคือคน แล้วการที่คนคนนึงจะมี relationship กับอีกคนนึงได้มันจะดีกว่าถ้าเราเป็นตัวของตัวเอง 

A: เพราะเขาจะได้มี Personal Touch กับเรา

B: ถูกต้องเขาจะได้มี Personal Touch กับเรา อะ Who เรียบร้อยแล้ว What เรามาทำอะไรวันนี้ เธอเรามาทำอะไรกันวันนี้

A: วันนี้มาพอดแคสต์ครับ

B: วันนี้เรามาทำ Podcast ซึ่ง success ของเราคือเราจะทำ Podcast ให้เสร็จ ให้สนุกให้เป็นกันเองคุยกับแฮปปี้

A:  โอเคคนฟังแล้วได้เนื้อหาสาระ

B: นั่นเองเหมือนกันกับ Meeting ก็ต้องบอกด้วยว่าวันนี้เราเข้ามาคุยกันเรื่องอะไร วันนี้ success ของ Meeting นี้คืออะไร อยากให้ทุกคนเข้าใจอะไร การ Set ฉากแบบนี้ค่ะมันจะช่วยให้คนเข้าใจ และเขาจะได้ตัดสินใจได้ถูกว่า เราควรจะตั้งใจฟังหรือไม่ควรจะตั้งใจฟัง แทนที่จะต้องคาดเดาว่าเขา..มันสำคัญเกี่ยวกับเขาไหม

A: คราวนี้มันมีกรณีว่า ถ้าสมมุติเรา Set Stage ไปแล้วปุ๊บ ตั้งฉากเรียบร้อยแล้ว แล้วเขารู้สึกมันไม่เกี่ยวกับเขาอ่ะ อะไรมันมักจะเกิดขึ้น มันมีคนเดินออกไหม หรือคนส่วนใหญ่ เอางี้เอาในบริบทของความเป็นไทยแล้วกันคนส่วนใหญ่เลือกอยู่ต่อไปหรือว่าเดินออกเท่าที่เคยเจอ

B: เศร้าสุดๆเลยคนไทยนะ หลังจากที่ B C D โดนเข้าลากเข้ามาแล้วไม่มีทางออกอยู่แล้ว

A: ใช่ไหมนั่นคือสิ่งที่เราเจออยู่ตลอด

B: ใช่อยู่แน่นอน จริงๆแล้วเนี่ยไอ้ Who What Why How ถ้าเราอนุญาตขออนุญาตให้เขาแนะนำตัวทีม เราจะรู้เลยว่า North East South West ของเราคนที่สำคัญคือใคร 

A: กลับไปเรื่องเก่าเราจะได้รู้ เวน และ เวนซี่ ของเขา กับ what ของเรารอบนี้มากแค่ไหน 

B: ใช่สมมุติสมมุติ สมมุตินะคะเธอเป็นเธอเป็นคนขับรถและเธอมาอยู่ในห้อง Meeting นี้ด้วย และถ้าเรารู้แล้วคนๆนี้คือคนขับรถและเราจะขายอะไรที่แบบ C Level มากๆ แล้วให้เขาอยู่ต่อได้ไม่มีปัญหาอะไร แต่เราควรจะรู้ว่า Attention หรือสายตาของเราที่มีอันน้อยนิดสามารถที่จะข้ามเขาไปได้ต้องตัดสินใจอย่างเด็ดขาดเขาไม่ใช่ North East South West ของเรา

A:  โอ้โหคมมาก 

B: โอเคต่อมากับการจัดฉากและก็ตั้งฉาก คนเราเรากลัวหรือ The unknown มากที่สุด กลัวที่จะไม่รู้ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง หรืออีกคำนึงคือ ambiguity นั่นเองกลัว The unknown ทำให้ตลอด conversation ที่เราจะพูด ไม่ว่าเธอจะขายอะไรก็แล้วแต่ หรือเธอจะอธิบายอะไรก็แล้วแต่บอกเลยว่า agenda วันนี้เราจะคุยกันอธิบายเรื่องนี้นะ ทั้งหมด 3 อย่างเรื่องที่ 1 คือ..เรื่องที่ 2 คือ..เรื่องที่ 3 คือ.. อย่างนี้ตอนนี้เดี๋ยวเราพูดกันเรื่องข้อที่ 1.. ข้อที่ 2.. ข้อที่ 3..  อ้าวตอนนี้เรากำลังจะเข้าข้อที่ 3 นะคะเมื่อกี้เราพูดไปแล้วข้อที่ 1 ข้อที่ 2 อย่างนี้ย้ำไปเรื่อยๆ เพราะคนกลัว unknown ฉันไม่อยากลุ้นว่าพี่เอกจะมีข้อที่ 4 หรือเปล่า กลางทางหรือเปล่า หรืออันนี้ 1.2 หรือเปล่าหรืออันนี้  1.5  เอาแค่ 1 2 3 แล้วก็บอกไปว่าตอนนี้เราอยู่ข้อที่ 1 ตอนนี้เรากำลังพูดข้อที่ 2 อย่างนี้ กำลังจะพูดข้อที่ 3 คนส่วนใหญ่เวลาพูด keynote speaker มี agenda แบบนี้ 1 2 และ 3 แต่ใน Meeting ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ก็ต้องมีเหมือนกันและคนอาจจะลืมในจุดๆนี้ไป ถึงแม้ว่าเราจะมีแค่ 2 Part เธอก็ต้องบอกว่าเธอมี 2 Part เพราะเดี๋ยวฉันตามไม่ทัน

A: ให้เขารู้สึกสบายใจว่าฉันกำลังอยู่กับสิ่งนี้

B: ใช่ มันช่วยให้คนตามทันด้วยตามถูกในสิ่งที่เราพูด

A: คราวนี้มันจะมี Presentation Type หนึ่งที่ผมชาเลนจ์อยู่ ตกลงก็ลังเลอยู่ว่ามันควรจะต้อง Set agenda ไหม หรือบอก agenda เขาไหม ยกตัวอย่างง่ายๆเปิดตัว iPhone อย่างเปิดตัว iPhone เราต้องการเซอร์ไพรส์ถูกไหม แล้วลักษณะ Presentation แบบนั้นเราไม่สามารถบอกได้ว่า โอเคเดี๋ยวเราจะแนะนำให้รู้จักเทคโนโลยีใหม่ที่กำลังจะมีมา 2 เสร็จปุ๊บ สิ่งที่เราจะได้เจอกัน ณ ตอนนี้คือ iPhone ถ้าบอกไปว่ามันคืออะไรเราก็จะแอดชีฟด้วยการ….ฟีเจอร์ของ iPhone ในวันนี้คนก็รู้แล้วกลับบ้าน

B: ยกเคสยากเวอร์

A: ไม่หลายๆครั้งเราก็มี Presentation แบบนี้นะถูกไหม

B: ต้องบอกก่อนในเคส iPhone คนที่เข้ามาฟังคืออยากฟังมากและตั้งใจฟังเวอร์ มันจะไม่เหมือนกันในเคส  Meeting ที่ชั่วโมงนี้ ฉันอยากจะไปกินข้าวเที่ยง ฉันอยากจะนั่งเฉยๆ ฉันอยากจะเช็คบล็อก อ่าน Pantip บ้างได้ไหมอยากเล่น Facebook อยากโพสต์รูปจะไม่เหมือนกัน contact จะไม่เหมือนกัน ในเคส iPhone ค่อนข้างโชคดีที่มีคนที่แบบให้ Attention เกินร้อย ถึงแม้ในเคส iPhone จะเป็นแบบ ถ้าสังเกต Steve Jobs จริงๆเขาก็จะมีโฟลลึกๆในใจที่เขาจะตามอยู่ตลอดเวลา หรือ speaker ต่างๆหลังจาก Steve Jobs แล้วก็จะมีทีม Marketing ของเขามาพูดทีม Engineer มาพูด โฟลนี้ก็มีอยู่ใน agenda ที่เป็น template Print Out ออกมาให้ทุกคนที่มาจอยกัน

A: จริงๆแล้วเหมือนกับให้รู้อาเจนด้าคร่าวๆเพื่อให้ลด ambiguity ลงประมาณนึง แต่จุดเซอร์ไพรส์คืออาจจะอยู่ในบางอาเจนด้าที่อยู่ในนั้น

B: ข้างในไส้ในมากกว่าที่เป็นเซอร์ไพรส์

A: โอเคเพราะฉะนั้นถ้าสมมุติต่อให้เราทำเซอร์ไพรส์ Presentation หรือ Keynote speaking ที่ใหญ่ๆ ลักษณะเปิดตัว product ที่ใหม่สำหรับโลกนี้เลย เราก็ควร Set agenda อยู่ดีถูกไหม

B:  ถูกต้อง มาเมื่อกี้เราพูดกันไปเรียบร้อยแล้วข้อที่ 1 วิธีการวางตัวยังไง North East South West 2 ก็คือการจัดฉากตั้งฉากออกมา Who What When Why How และไม่ชอบ ambiguity สุดท้ายแล้ว ฉันกำลังเซ็ต agenda สุดท้ายแล้วเด้อ คือเขาเรื่องแล้วนะ ในระหว่างที่เราพูด conversation ของเราไม่ว่าจะเป็น Meeting  1 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมงเราควรจะมีเทคนิคอะไรยังไงบ้างนะคะ 

A: เริ่มกันเลย

B: เริ่มกันเลยแนตตี้มีทั้งหมด 4 อย่างที่อยากจะเล่าให้ฟัง สำหรับใน Concept ของการเข้าเรื่องแล้วนะ

A: เรื่อง Presentation เรื่องที่ 1 ที่ต้องทำก็คือ

B: เรื่องที่ 1 คือ พี่เอกรู้ไหมว่าคำอะไรที่สำคัญที่สุดกับคนคนนั้น คำอะไรบนโลกไปนี้ที่สำคัญที่สุดกับคนๆนึง

A: นึกไม่ออกเอาจริงๆ

B: คำว่าครอบครัว คำว่ารัก คำว่าเงิน จริงๆแล้วไม่ใช่เลยคำที่สำคัญที่สุดสำหรับคนๆนั้นคือชื่อของเขา เพราะพี่เอกคือพี่เอก สุพลชัย ถ้ามีคนเรียกพี่เอกว่า สุพลเชิด พี่ก็คงไม่แฮปปี้ เพราะคำที่สำคัญที่สุดคือ สุพลชัย และคือเอกก็ชื่อเอก หรือว่าแนตตี้ค่ะ ไม่ได้ชื่อนัตตี้ และไม่ได้ชื่อแนท ชื่อแนตตี้ คำนี้สำคัญที่สุดเลย

A: นึกว่าจะให้เปลี่ยนเรียกเป็นแนท ในอนาคตอาจจะไม่ใช่

B: ไม่ได้ต้องเรียกแนตตี้ ทำให้ข้อแรกคือหลังจากที่คนใน Meeting Room เขาแนะนำตัวเองแล้ว เธอต้องจดว่าเขาชื่ออะไรแล้วเรียกให้ถูก ในระหว่าง Meeting ความตั้งใจฟังของคนหนึ่งคนมันประมาณ 1.7 วิ อันนี้ Facebook ได้สอนเราเอาไว้

A: แหมขายของเนาะ

B: 1.7 วิ เท่านั้น 1.7 วินาทีฉันก็ตัดสินใจได้เลยว่าฉันอยากจะฟังเธอหรือไม่อยากจะฟังเธอ เพราะฉะนั้นวิธีที่จะดึงเขากลับมา ดึงจิตวิญญาณเขากลับมาคือการเรียกชื่อเขานั้นเอง

A: แต่แต่ แล้วมีเทคนิคในการจดจำชื่อให้ได้รวดเร็วไหม เพราะจริงๆตัวเราเองมีปัญหาเรื่องนี้เลยนะ ทุกครั้งเลย

B: ดีมาก พี่เอกมันมีรายการ Netflix อันนึงที่เขาเป็น documentary การแข่งขันใครจำอะไรได้เยอะที่สุดอ่ะค่ะ มันมีการแข่งขันนี้จริงๆ แล้วก็คนนึงที่เป็นผู้ชนะมาหลายปีเขามาออก YouTube ว่าเขามีวิธีการจำชื่อยังไงได้บ้าง ซึ่งเดี๋ยวแนตตี้จะเล่าให้ฟัง คือ moment ที่บุคคล a เขาแนะนำตัวว่า ชื่อไผ่สมมุติ เขาชื่อไผ่เราเนี่ยจะต้องมองหน้าคุณไผ่ แล้วหาอะไรในหน้าของคุณไผ่ไม่ว่าจะเป็น คิ้ว ตา จมูก ปาก เสื้อที่ใส่ หรือ หู ผม อะไรก็ได้ที่ทำให้เรานึกถึงต้นไผ่ในสิ่งนั้นจริงๆ เขาสอนแบบนี้จริงๆ เขาสอนแบบนี้จริงๆอย่างเช่น

A: คุณไผ่ Bamboo เราต้องหาอะไรที่คล้ายลำของไผ่ให้ได้

B: ใช่ ซึ่งคิ้วของคุณไผ่พอดีเลยกลวง กลวง กลม คิ้วกลวงกลมเหมือนกับต้นไผ่ จริงๆแล้วคุณจะจำคนนี้ได้ตลอดไป หรือมีอีกคนนึงชื่อคุณโย คุณโยชื่อยอดฮิตมากคุณโยเจอบ่อยอยู่แล้ว คุณโยเยอะเลยก็ดูชุด หน้า ผม ตา จมูก ปาก ว่าเขาเหมือน N And M Rap Yo Rap Yo คนนี้ชื่อคุณโย Rap Yo แล้วก็พูดในหัวไม่ต้องพูดออกมานะอายเขา พูดในหัวของตัวเองแล้วเราจะจำได้คิ้วแบบนี้คุณไผ่ ชุดแบบนี้คุณโย คิ้วแบบนี้คุณไผ่ชุดแบบนี้คุณโย

A: หาสิ่งที่ related กับตัวเขาหรือบน Visual appearance ของเขาให้เราสามารถจำชื่อเขาได้

B: ใช่แล้วแบบนี้เลย แล้วคุณไม่ต้องจำทั้งหมดนะสมมุติใน Meeting Room มีตั้ง 20 คน จำแค่ North East South West ของเธอไงล่ะ หรือคนที่สำคัญที่สุดคนนั้นคือใคร

A: แล้วถ้าเกิดว่าเราเจอชื่ออย่างเช่นคุณซ้ง

B: คุณซ้ง

A: เนี่ยยังไม่รู้ด้วยซ้ำแปลว่าอะไรแล้วจะยังไงอ่ะ ถ้าเจอคุณซ้งเนี่ย

B: เราต้องถามเขาว่าสะกดยังไงแบบไม่ได้ยินน่ะ ถ้ามันไม่ได้ยินจริงๆ สวัสดีครับชื่อ..ไม่ได้ยิน ต้องกล้าถามอีกครั้งได้ไหมคะ ชื่ออะไรคะ ซ้ง สะกดยังไงนะคะ อ๋อ OK Z o n g  Z o n g ซ้ง

A:  ต้องหาบางอย่างที่ related กับคนได้

B: ซ้ง เหมือน ทรง ทรงเหมือนซ้ง ทรงผมของซ้ง อะไรอย่างนี้เลยจริงๆจริงๆ จริงๆมันต้องอย่างนี้หรือถ้าใครเพื่อนเยอะโชคดีมากเลย ถ้าใครมีเพื่อนชื่อแมนชื่อพลอยอยู่แล้วอ่ะนึกถึงมัน แล้วก็คิดว่าไอ้เนี่ยมันเป็นมันหน้าตาเหมือนไอ้แมนไง หน้าตาเหมือนไอ้แมนนะอันนี้ หน้าตาเหมือนพลอยไงอีพลอยไงอย่างนี้ มันก็จะช่วยจำได้ หรือถ้าจำไม่ได้จริงๆก็จด ก็จดแล้วก็วางกระดาษนั้นค่ะ หรือตอนที่จดจดตามมุมกระดาษเหมือนกับว่ามุมห้องที่เขานั่งอยู่

A: คือในสมุดโน๊ตของเราเราก็จดให้ตำแหน่งของเขาใกล้เคียง ในกระดาษใกล้เคียงตำแหน่งนั่งในห้องของเขานั่นเอง

B: ใช่แล้ว North ก็คือไผ่ East ก็คือโยนั่นเอง หรือว่าคุณทรงผมชื่อคุณซ้ง หรืออีพลอยแค่นี้ค่ะต้องทำให้ได้ชื่อสำคัญมากมันเป็นเทคนิคในการดึงจิตวิญญาณทุกคนกลับมาได้อย่างเช่น พูดไปตัวอย่างนี้อย่างนี้ๆ คุณซ้งเห็นด้วยไหมคะ หรือว่าทางคุณไผ่อาจจะเคยเคยอะไรก็แล้วแต่ว่าไป ทางคุณไผ่อาจจะเคยอย่างนี้ๆ หรือประสบการณ์ที่เราอาจจะเคยคุ้นเคยกันใช่ไหมคะคุณโย อย่างนี้ไป

A: Call them Me By name แล้วมันจะสามารถดึงดึง Attention กลับมาได้

B: ใช่แล้ว relationship ที่เราบิ้วกลับไปตอนแรกที่พูด It’s not what you say but is How you Made The feel โปร feel Wonderful เพราะ You พูดคำสำคัญที่สุดของเราได้ถูกต้อง ซึ่งก็คือ my name

A: OK ทริคนี้มัน …….. 29. 08 สำหรับคนคนนึง นี่คือเรื่องที่สำคัญที่สุด

B: ต่อมาเรื่องที่ 2 ของการเข้าเรื่องมีทั้งหมด 4 เรื่องเนาะ ใน Concept ของการเข้าเรื่อง เรื่องที่ 2 คือ variation Of voice variation Of voice ค่ะ 

A: การปรับเสียง

B: การปรับเสียง ไปที่ชาว caveman หรือ ชาวอุงก้าๆดึกดำบรรพ์ของเรา ชาวอุงก้าๆหรือว่า Instinct หรือว่า physical ของเราเวลามันมีเสียงที่คอนสแตนท์ สมมุติเสียงแห่งความว่างเปล่า เวลาคอนสแตนท์มันจะกลายเป็น neutral ทันที เวลา speaker ท่านใดเป็นโมโนโทน เสียงโมโนโทนของ speaker นั้นจะเป็น neutral ทันที มันจะไม่น่าสนใจมันจะไม่โดดเด่นอีกแล้ว ทำให้เราจะต้องเปลี่ยนน้ำเสียงตลอดเวลาหรือเปลี่ยนไปที่การพูดเพจซิ่งแบบช้าหรือแบบเร็วอย่างเช่น ตรงนี้สำคัญมากๆเลยนะคะ เดี๋ยวแนตตี้ขอเน้นย้ำตรงนี้เลยนะคะตรงนี้สำคัญมากๆเลยค่ะหรือ

A: เป็นคำที่ใช้กันบ่อยที่เราต้องการจะเน้นย้ำเรื่องนี้จริงๆนะ

B: ใช่ หรือบางทีนะถ้าสนิทกันหน่อยถ้าไม่ซีเรียสมากกับใน Meeting  แนตตี้จะใช้กระซิบเพราะว่าคนเราจะตั้งใจฟังมากกว่าถ้าเรากระซิบ เวลาเรากระซิบว่า Point เนี้ยจริงๆไม่ได้อยากจะบอกใครเลยนะ แต่มันความลับจริงๆ ถ้าใครทำ Point นี้ได้เนี่ย เก่ง Advance สุดๆเลยมีอะไรจะบอก เวลาเรากระซิบคนจะอยากฟังเวลาตะโกนคนจะไม่ได้อยากฟัง อันนี้มาตั้งแต่ในการเลี้ยงเด็กแล้วเวลาเราเห็นคุณครู คุณครูเด็กอนุบาลค่ะคุณครูเด็กอนุบาลเวลาจะต้องการความสนใจของเด็กอนุบาลทุกคนที่กำลังแบบ…ครูเขาเงียบเขาไม่ได้ตะโกนเพราะมันเป็นแบบ New Normal ทันทีมันจะเป็นนิวนอมนี่คือ variation Of Voice 

A: ทำให้มันแตกต่างจากปกติ ซึ่งปกติถ้าตะโกนมันคือเขาเรียกอะไรปกติเขาเจอบ่อยเจอจากนายเจอจากใครตะโกนอะไรอย่างนี้ใช่ไหม แต่ว่าถ้าเกิดว่าเราเงียบมันจะกลายเป็นกลับกันเลยก็คือดึง Attention ของเขามา

B: ถูกต้องครับผมหรือพูดให้มันเบาลงแค่นั้นเองนั่นคือข้อที่ 2 variation Of Voice variation Of Voice 

A:  โอเคคราวนี้มาที่ข้อ 3

B:  ข้อ 3 คือ frequency matter frequency matter คือในหัวของเรา ในหัวของผู้ฟังถึงแม้เขาจะมองตาคุณอยู่ ในหัวของผู้ฟังมันมีเรื่องบทความนิยายอะไรนั่นโน่นนี่ที่เกิดขึ้นหมดเลยที่เกิดขึ้นอยู่ในหัว วันนี้ตอนเที่ยงฉันจะกินอะไร ตอนเย็นฉันจะกินอะไร รถติดไหม วันเสาร์อาทิตย์ฉันจะไปไหนดี ซื้อของขวัญอะไรให้แฟนดีนะ คิดนู่นคิดนี่ตลอดเวลา มันยากมากที่ใครคนนึงจะฟังคุณตั้งแต่ต้นจนจบ แปลว่าใน Content ที่สำคัญจริงๆสมมุติว่าเวลาสั่งอาหารนะคะให้สั่ง n = 1 และจะไม่เป็นการสั่งอาหารมากเกินไป n คือจำนวนคนที่มากินข้าว และ n = 1 สมมุติเรามากินข้าวกัน 2 คนสั่งได้แค่ 2 เมนู ถ้ากำลังกินข้าวอยู่ 5 คนสั่งได้ 5 เมนูสมมุตินี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่เราจะแรนใน Meeting นี้ Concept คือ frequency matter  คือพูดย้ำไป อย่าคิดว่าย้ำเกินไปย้ำไปเถอะ เขาอาจจะพลาดรอบแรกและอาจจะพลาดรอบ 2 แล้วอาจจะพลาดรอบ 3 เพราะฉะนั้นย้ำไป อย่างที่แนตตี้ได้พูดนะคะ เวลาสั่งอาหารถ้ากังวลว่าจะสั่งเยอะเกินไป สั่ง n = 1 ซึ่งก็คือจำนวนคนที่มาจะเท่ากับจำนวนเมนูอาหารที่เราจะสั่งค่ะ แล้วถ้าสมมุติ Present กันหลายๆคนเนาะ เตรียมกับเพื่อนก่อนใช่แล้วค่ะอย่างที่คุณแนตตี้ได้กล่าวไปเมื่อสักครู่นี้สูตร n = 1 จะทำให้เราไม่ต้องสั่งอาหารเยอะเกินไป  n คือจำนวนคนที่มาเท่ากับ 1 ก็แปลว่าจำนวนคนเท่ากับจำนวนเมนูที่เราจะได้สั่งในวันนี้ค่ะ ย้ำไปเรื่อยๆย้ำไปเรื่อยๆน้ำเสียงไปเรื่อยๆ

A: แต่มันมีลิมิตไหมว่ากี่ครั้งอ่ะ เพราะว่าเอาจริงๆมันก็เป็นเทคนิคที่หลายๆคนลืมเนาะ เราคิดว่าพูด 1 ครั้งคนต้องจำได้ซึ่งจริงๆไม่ใช่เลย การจะให้..เพราะจริงๆคนเราจำอะไรไม่ได้เยอะหรอก การพูดซ้ำๆบ่อยๆมันทำให้ Message ที่เป็น keyword แรงลงไปในหัวคนได้แต่มันมีลิมิตไหม

B: ดู North East South West ดู North East South West เธอดู North East South West ก่อนว่า North East South West เธอพยักหน้าหรือยัง หรือ West มันยังหลุดอยู่ หรืออี North มันยังไม่ได้เอาใหม่อีกครั้งแค่นั้นเอง ดู North East South West จะเป็นตัวแทนของหมู่บ้าน 

A: เสาของเราที่เราตั้งไว้ในห้องทุกๆครั้งที่เราเข้าไปก็เช็กว่า ถ้าตาเบิกแล้วดูเข้าใจแล้วพยักหน้า แต่ถ้าคนคนนั้นดันเป็นเพื่อนเราหมดก็ อือ ไม่ใช่ไม่ใช่

B: แต่เพื่อนเราเป็นตัวแทนที่ดีมากเลยนะ เพื่อนเราจะเป็นคนส่งสัญญาณให้เราว่ามันพอหรือยัง วิธีนึงที่แนตตี้ทำบ่อยๆคือ Make sure ว่าคนที่ Present ด้วยเป็นคนละเพศกันคือแนตตี้เป็นผู้หญิง แนตตี้อยากได้คู่อริเนี่ยเป็นผู้ชาย เพราะว่าน้ำเสียงที่เปลี่ยนไปกลับไปที่ variation Of Voice เบื่อได้ยินเสียงผู้หญิงจนเบื่อแล้ว การที่ได้ยินประโยคเดิมเดี๊ยๆเลยจากผู้ชายเนี่ยจะช่วยทำให้คนตื่นตาตื่นใจอยากฟังมากขึ้นเหมือนเป็น Content ใหม่ จริงๆไม่มีอะไรเลยแค่ผู้หญิงพูด ผู้ชายพูด

A: เพราะจริงๆ variation Of Voice ผมตีอย่างนี้ได้ไหมว่ามันไปได้หลายทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นเบาหนักเปลี่ยนเสียงเป็นเสียงต่อเสียง 3 หรือแม้แต่การเปลี่ยนผู้พูดให้มีลักษณะน้ำเสียงที่แตกต่าง เผลอๆถ้าเป็นผู้หญิงอาจจะเป็นผู้หญิงเสียงทุ้มกับผู้หญิงเสียงแหลม ก็พอจะเป็นไปได้

B: ก็พอจะเป็นไปได้เหมือนกัน

A: ครับผม

B: สุดท้ายเลยคือการ Concept ของการเข้าเรื่องเมื่อกี้เราคุยไปแล้วพอมี Call Me By My name เรียกชื่อฉันสิ …. OK  ข้อที่ 2 variation of Voice เสียงสูงเสียงต่ำพูดเร็วพูดช้า 3 frequency matter เสียงสูงเสียงต่ำพูดเร็วพูดช้าพูดซ้ำไปเรื่อยๆ frequency matter อันสุดท้ายคือ วีเลทเทอเบิล example

A: ตัวอย่างที่สามารถจะเข้าถึงได้รู้สึกว่าพอจะเกี่ยวกับตัวเองได้

B: ใช่แล้วค่ะ เหมือนที่พี่เอกทำเมื่อกี้เลยย้ำแต่คนละน้ำเสียงกันเมื่อกี้ frequency matter วีเลทเทอเบิล example วีเลทเทอเบิล Example เหมาะมากกับแก๊ง Marketing โดยเฉพาะแก๊ง Digital Marketing เพราะ Thailand 4.0 2 3 Thailand 4.0 อะไรก็แล้วแต่เนี่ยหลายๆคนอาจจะยังฟังทุกอย่างที่เราพูดในมุม Digital Marketing เป็นภาษาเอเลี่ยน CTC CTR โรแอด ROI หรืออะไรก็แล้วแต่มันเป็นภาษาเอเลี่ยนซะหมดเลย แล้วมันไม่ได้ผิดเขาเน้อ มันผิดเราเองที่เราคิดว่าทุกคนจะเข้าใจ จริงๆแล้ว Concept ของ Digital Marketing เพิ่งมาบูมจริงๆเมื่อประมาณ 4 ปีที่ผ่านมานี้เอง แล้วมันไม่ผิดเลยที่คน The restless of the World หรือ The restless of Thailand  ยังไม่ get มันเป็นหน้าที่ของเราเองนี่แหละค่ะคุณ Digital Marketer แล้วคนที่พูดบนเวทีหรือห้อง Meeting room ที่จะทำยังไงก็ได้ให้มันเข้าใจง่ายแม้แต่เด็ก 6 ขวบก็เข้าใจ  ซึ่ง วีเลทเทอเบิล Example เนี่ยหาอะไรก็ได้ที่เกี่ยวข้องกับคนปกติทั่วไปที่เราสามารถที่จะยกมาเป็นตัวอย่างได้ อย่างเช่น สมมุติแนตตี้เพิ่งเล่าไปเลยเรื่อง  UTM UTM เนี่ย UTM สำหรับคนที่ฟังอยู่ถ้าใครรู้เนี่ยตบมือให้ตัวเองค่ะเก่งมาก 

A: รู้จัก UTM แต่รู้ไหมว่า UTM ย่อมาจากอะไร

B: UTM ย่อมาจากอะไร อาจจะเป็นวิธีแรกในการดึงดูดความสนใจของทุกคน เพราะเราเปิดปุ๊บ UTM  3 ตัวย่อดูยาก ฉันไม่สนใจ UTM ย่อมาจากอะไร อันนี้แนตตี้ก็เพิ่งรู้เหมือนกันเนาะพี่เอกเนาะ U มันย่อมาจาก urchin urchin แปลว่า หอยเม่นจ้า 

A: เดี๋ยวอยู่ๆอะไรจะมาเกี่ยวกับหอยเม่นได้ล่ะ

B: เฮ้ยเรื่องจริง Google มันเป็นคนตั้ง Google analytics เป็นคนตั้ง UTM ย่อมาจาก urchin tracking model ซึ่งย่อมาเป็น UTM นี่แหละ หอยเม่นมันเหมือนมันติดอยู่ในโขดหิน UTM ก็เหมือนกับการติดอยู่ในนักว่ายน้ำ 1 คน นึกว่าว่านักว่ายน้ำ 1 คน scuba dive อยู่แล้วมีหอยเม่นติดอยู่ที่ขาของเขาลงไป UTM ก็เช่นกัน UTM การติด UTM เหมือนกันกับการท่องมหาสมุทรของ Digital Marketing ไม่ว่าคุณจะอยู่ใน Facebook Instagram Google Display Network หรือดู YouTube อยู่ ถ้ามี UTM เราสามารถที่จะติดตามคุณคนนี้ได้เหมือนกับดังอีหอยเม่นที่ติดอยู่ในนักว่ายน้ำคนนั้นนั่นเอง urchin tracking model 

A: ผมถอดอย่างนี้ได้ไหมว่าเพราะฉะนั้นวิธีการในการอธิบายสิ่งต่างๆมันต้องพยายามให้เขาเข้าใจกับสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเราอยู่ในสาย Digital Marketing มันคือหน้าที่ของพวกเราที่จะสื่อสาร Educate คนกลุ่มนี้ให้เขาเข้าใจ อย่าคิดว่ามันเป็นเรื่องเธอไม่รู้หรอเฉยๆ ถ้าเราคิดอย่างนี้มันก็ไม่มีใครช่วย Educate วงการ

B: ถูก แล้วเราจะไปถึง 5.0 ด้วยกันไงคะ

A: เอา 4.0 ให้รอดก่อน

B: โอเคเอา 4.0 ให้รอดก่อน โอเคจบแล้วเรื่องที่เราคุยกันวันนี้มีเรื่องอะไรบ้างในการทำ High Power Presentation

A:  มีอะไรบ้างย้ำกันอีกทีครับ

B: เรามีทั้งสิ้น 3 เรื่อง หนึ่งคือการวางตัว มองอายคอนแทคให้ครบทุกคน อายคอนแทค North East South West ที่จะเป็นบัดดี้ของเรา เรื่องที่ 2 การจัดฉากการตั้งฉาก เธอเป็นใคร Who What Why How เรามาอยู่ที่นี่ทำไม แล้วเราตั้งใจทำอะไรใน 1 ชั่วโมงนี้ คนมักจะกลัว unknown บอกเขาเลยเราจะคุยกัน 123 ตอนนี้เราคุย 1 เราจะไปคุยถึง 2 แล้วเราจะไปจบ 3 แบบนี้เลยค่ะ สุดท้ายก็คือเข้าเรื่อง การเข้าเรื่องไม่ว่าคุณจะคุย Content อะไรก็แล้วแต่คนเรามี  Attention  1.7 วิ ตามที่ Facebook เคยบอกมา วิธีการดึงวิญญาณของทุกคนกลับมาได้คือ call me By My Name เรียกชื่อของเขา

A: ที่สำคัญที่สุดคือเรียกชื่อของเขา

B:  Say Me name ค่ะ variation of Voice say my name say my name say my name หรือ frequency matter คิดว่าพูดครั้งเดียวเขาเข้าใจมันไม่เข้าใจหรอก พูดซ้ำไปเปลี่ยนเสียงเปลี่ยนวิธีการพูดใน Content ที่สำคัญ

A: โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Key message

B: Key Message เราคืออะไรคะวันนี้ Key message

A:  UTM ไม่ใช่

B: UTM สุดท้าย renewable example Digital Marketing มัน 4.0 แต่ว่ามันไม่ผิดเลยที่คนอื่นจะยังไม่เข้าใจเรา มันเป็นหน้าที่ของเราที่จะทำให้เขาเข้าใจใน Digital 4.0 นั่นเอง เอาตัวอย่างที่เขาเข้าใจไม่ว่าจะเป็นนักประดาน้ำกับหอยเม่นที่ติดอยู่ตรงขาของเขาก็แล้วแต่ 

A: อันนี้เป็นอันที่แนตตี้ทำได้ดีมากๆเลย เอาจริงๆนะเผลอๆอัดเป็น Podcast อันนึงได้เลย แล้วจะหาตัวอย่างยังไงมาอธิบายให้เข้าใจเรื่องเหล่านี้เนาะ 

B: มโนได้ สกิลการมโนการเกี่ยวข้องกัน

A: มันไม่ใช่ทุกคนจะสามารถทำได้แต่มันต้องมาลองดูกันต่อ

B: ได้เลย

A: ใช่ไหมนึกไม่ออกจริงๆว่าจะเอาตัวอย่างจากไหนเนาะใช่ไหมบางที ซึ่งจริงๆก็ถ้าทุกคนชอบนะครับลอง Request มาได้เลยว่า อยากให้คุณแนตตี้มาต่อเรื่องนี้โดยเฉพาะรึเปล่า เดี๋ยวผมจะบังคับคุณแนตตี้ให้มา Podcast ตอนถัดไปเรื่องของวิธีการมโนตัวอย่างอธิบายเรื่องยากๆ 

B: ขอทิ้งท้ายแต่ไม่ท้ายสุดได้ไหม

A: ยังไงล่ะ

B: ประโยคสุดท้าย It’s not what you say but is How you Made The feel  หวังว่า Podcast นี้จะทำให้ทุกคน feel good นะคะ 

A: เล่นซ้ำอีกแล้ว ซึ่งก็เป็นเทคนิคที่ดีมากเช่นเดียวกัน โอเคนะก็คิดว่าจริงๆแล้วผมเสร็จแล้วไม่ต้องทำอะไรแล้วปิดเลยแล้วกัน

B:  Every body Good Luck ค่ะ

A: OK ขอบคุณมากๆนะครับที่ฟังกันมาถึงตรงนี้นะครับ สำหรับ Suponchai.com Podcast วันนี้นะครับ ขอขอบพระคุณแนตตี้มากๆเลยที่มาแชร์ให้เราฟังกันแบบครบเครื่องมากๆเลย แล้วก็แถมมีการ wrap up ให้เสร็จด้วยมีทั้งหมด 4 ข้อในการที่คุณจะทำ Presentation 3 ข้อ 3 ข้อที่จะทำให้คุณมี Presentation ที่ดีได้ ตั้งแต่ข้อแรกก็คือ การวางตัวนะครับ 2 คือการตั้งฉาก 3 คือการเข้าเรื่อง เดี๋ยวแนทตี้มันจะตีฉันซะก่อนผมเอาไปพูดผิดนะนะครับผม ก็วันนี้คิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์กับหลายคนมากๆ โดยเฉพาะการทำให้ Business Presentation ของตัวเองมีแผนที่ดีขึ้นเนาะ ลองนำไปใช้ดูนะครับแล้วผมเชื่อว่าจะทำให้คุณมี Impact ที่มากขึ้นจริงๆนะครับ วันนี้ต้องขอขอบคุณคุณแนตตี้จริงๆครับ

B: ขอบคุณค่ะ

A: ขอบคุณนะครับแล้วพบกันใหม่สัปดาห์หน้านะครับกับ Suponchai Podcast สำหรับวันนี้สวัสดีครับ

สามารถฟังพอดแคสต์ Marketing I Can
ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้อยู่แล้วได้เลยimage YoutubeSpotifyPodcast

FOLLOW US

FacebookInstagramYoutubeLine
Show More
Rate

Join Podchaser to...

  • Rate podcasts and episodes
  • Follow podcasts and creators
  • Create podcast and episode lists
  • & much more

Episode Tags

Do you host or manage this podcast?
Claim and edit this page to your liking.
,

Unlock more with Podchaser Pro

  • Audience Insights
  • Contact Information
  • Demographics
  • Charts
  • Sponsor History
  • and More!
Pro Features