Podchaser Logo
Home
NSTDA Podcast

NSTDA Channel

NSTDA Podcast

A weekly Science podcast
Good podcast? Give it some love!
NSTDA Podcast

NSTDA Channel

NSTDA Podcast

Episodes
NSTDA Podcast

NSTDA Channel

NSTDA Podcast

A weekly Science podcast
Good podcast? Give it some love!
Rate Podcast

Episodes of NSTDA Podcast

Mark All
Search Episodes...
ยางรีดนมวัวเป็นอุปกรณ์สำคัญในการรวบรวมน้ำนม แต่ที่ผ่านมาประเทศไทยต้องนำเข้าจากต่างประเทศทั้งหมด มีรายงานพบว่าใน 1 ปี เกษตรกรต้องใช้งานยางรีดนมวัวถึง 400,000 ชิ้น คิดเป็นมูลค่ารวมกว่า 100 ล้านบาท ซึ่งทำให้ไทยสูญเสียเงินเพื่อนำเข้าสินค้าประเภทนี้
คุยกับน้องแก้ม นางสาวไอริณ อินทรทัต นักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนชลราษฎรอำรุง ผู้ชนะเลิศจากการแข่งขัน “SiT Talks: Science inspired by Teen 2024” เวทีเฟ้นหาเยาวชนนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ถ่ายทอดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ภายใน 3 นาที ผ่
ปัญหาขยะอวกาศ เป็นอีกหนึ่งปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องจับตามอง เพราะในช่วงหลายปีที่ผ่านมา หลายประเทศทั่วโลก มีการสร้างดาวเทียม และปล่อยจรวดขึ้นสู่อวกาศเป็นจำนวนมาก และเมื่อดาวเทียมหรือสถานีอวกาศหมดอายุการใช้งาน ก็จะกลายเป็นขยะที่ลอยค้างอยู่ในวงโ
เมื่อพูดถึงอวกาศ หลายคนคงนึกถึงสถานีอวกาศนานาชาติ ซึ่งอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 400 กิโลเมตร เราจะเห็นนักบินอวกาศและวัตถุต่าง ๆ ภายในสถานีอวกาศล่องลอยไปมา เนื่องจากอยู่ในสภาวะแรงโน้มถ่วงต่ำ จึงเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นเมื่อเด็กไทยได้คิดการทดลองทาง
ไทยสุข คือ แพลตฟอร์มออนไลน์ที่ออกแบบขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเสี่ยงการเป็นไรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผ่านโมเดลการแข่งขันแบบออนไลน์ มาร่วมสร้างสังคมสุขภาพดีด้วยกันนิตยสารสาระวิทย์ สวทช. ได้รับเกียรติจาก ดร.เดโช สุรางค์ศรี
Maker Jam 2024 การรวมกลุ่มของเหล่า Maker กลุ่มนักประดิษฐ์ที่มาพร้อมกับความคิดสร้างสรรค์ พร้อมที่จะมาเผยแพร่ความรู้ของงานผลงานสร้างสรรค์ทั้งหมดที่บรรดา Maker สร้างกันขึ้นมา ช่วยส่งเสริมการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผ่านการลงมือทำ ด้วยกิจกรรมที่หลากหล
นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ได้รับเกียรติจาก ดร.ชาคริต ศรีประจวบวงษ์ นักวิจัยจากทีมวิจัยเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ หรือ เอ็นเทค สวทช. มาร่วมพูดคุยถึงงานวิจัยการผลิตแบตเตอรี่สังกะสีชนิดอัดประจุซ้ำได้ หรือ zinc-ion b
นิตยสารสาระวิทย์ ได้รับเกียรติจาก ดร.นครินทร์ ทรัพย์เจริญดี หรือ ดร.โอ๊ค นักวิจัยทีมวิจัยนวัตกรรมเส้นใยนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือนาโนเทค สวทช. จะมาร่วมพูดคุยเพื่อบอกเล่าถึงเรื่องราวความน่าสนใจของผลงานวิจัยแบตเตอรี่สังกะสีไอออนแบบเคเบิ
เมื่อช่วงปลายเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เราคงได้เห็นข่าวด้านอวกาศ ซึ่งสร้างความตื่นเต้นให้กับผู้คนทั่วโลกกันมาแล้ว เมื่อยานจันทรายาน 3 ของอินเดีย ลงจอดบนพื้นผิวดวงจันทร์ได้สำเร็จ ทำให้อินเดียกลายเป็นชาติที่ 4 ของโลก ถัดจากอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริ
วันนี้ทางนิตยสารสาระวิทย์ ได้รับเกียรติจากคุณสักรินทร์ ดูอามัน หรือเชฟริน ผู้ช่วยวิจัย โรงงานต้นแบบผลิตอนุภาคนาโนและเครื่องสำอาง ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ นาโนเทค สวทช. จะมาบอกเล่าถึงเรื่องราวที่น่าสนใจ กว่าจะมาเป็นเครื่องสำอาง มีขั้นตอนอ
จากผลการศึกษาและวิจัยดีเอ็นเอ เพื่อระบุชนิดพันธุ์ปลาฉลามจากผลิตภัณฑ์หูฉลามที่ขายอยู่ในประเทศไทย ที่เพิ่งเผยแพร่เมื่อไม่นานมานี้ พบข้อมูลที่น่าสนใจในเรื่องการสร้างความตื่นตัว และตระหนักรู้ถึงปัญหาและผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม จากการบริโภคผลิตภัณฑ์จาก
คนไทยเรารู้จักและใช้ไผ่ ได้สารพัดประโยชน์ ทั้งกิน ก่อสร้าง ใช้เป็นภาชนะ และอื่นๆ อีกมากมาย คุณสมบัติที่ดีของไผ่ คือ โตเร็ว กระจายพันธุ์ได้อย่างกว้างขวาง สามารถหมุนเวียนและทดแทนต้นที่ถูกตัดได้เร็ว จึงถือเป็นทรัพยากรที่มีศักยภาพในการทดแทนสูงและยั
ช่วงนี้เราได้ยินข่าวการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกกันบ่อยครั้ง จึงเป็นจุดเริ่มต้นของ “แอปพลิเคชันรู้ทัน” เกิดจากความร่วมมือของ เนคเทค สวทช. และกรมควบคุมโรค ร่วมกันวิจัยและพัฒนา “ชุดซอฟต์แวร์ทันระบาด” เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไข้เลื
สำหรับผู้ที่สนใจในเรื่องความงามพลาดไม่ได้กับงานวิจัยที่น่าสนใจเรื่อง นวัตกรรมความงามด้วยเทคโนโลยีอนุภาคกักเก็บสารสกัดเห็ดหลินจือวันนี้นิตยสารสาระวิทย์ สวทช. ได้รับเกียรติจาก ดร.ธงชัย กูบโคกกรวด หรือ ดร.ธง นักวิจัยจากทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อค
ปรากฏการณ์ “เอลนีโญและลานีญา” (El Niño, La Niña ) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ปรากฏการณ์เอนโซ (ENSO)  มีผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของโลกอย่างไรบ้าง ?ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบในเรื่องของภาวะภัยแล้ง น้ำท่วม อากาศร้อนจัดหรือไม่ เรามาร่วมค้นหาคำตอบร่วมกันก
ศูนย์อวกาศฮุสตัน (Space Center Houston) รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เป็นศูนย์นักท่องเที่ยวอย่างเป็นทางการของ NASA Johnson Space Center ของนาซา มาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960  สำหรับสถานที่แห่งนี้เป็นศูนย์บังคับการสำหรับภารกิจการปล่อยยานอวกาศที่สำคัญหลายโค
เมื่อเรานึกถึงสถานีอวกาศนานาชาติที่ระดับความสูงเหนือพื้นโลกประมาณ 400 กิโลเมตร เราจะเห็นภาพวัตถุต่าง ๆ ล่องลอยไร้ทิศทาง เนื่องจากอยู่ในสภาวะแรงโน้มถ่วงต่ำ ซึ่งแตกต่างกับบนโลกที่มีแรงโน้มถ่วง จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจในการทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ต
หุ่นยนต์ที่ชื่อ Astrobee ซึ่งเป็นหุ่นยนต์ผู้ช่วยนักบินอวกาศ พัฒนาโดย NASA Ames Research Center มีหน้าที่ช่วยลดเวลาการทำงานประจำวันของนักบินอวกาศ โดยทำงานผ่านการสั่งการด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อควบคุมและเป็นโอกาสดีของเยาวชนไทยที่จะมีโอ
ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกข้าวรายสำคัญของโลก สร้างรายได้นำกลับเข้าประเทศมากกว่าแสนล้านบาทต่อปี แต่กลับไม่ได้สะท้อนถึงผลกำไรที่เกษตรกรควรได้รับ เพราะชาวนาไทยส่วนใหญ่ต้องเผชิญปัญหาต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ความแปรปรวนของสภาพอากาศ รวมถึงวิก
วันนี้เราจะมาอัปเดตความก้าวหน้างานวิจัยอาหารอวกาศของทีม KEETA ซึ่งเป็นตัวแทนประเทศไทย ในการเข้าร่วมแข่งขันพัฒนาเทคโนโลยีอาหารอวกาศ “Deep Space Food Challenge” ที่จัดขึ้นโดย NASA CSA และ Methuselah Foundation เป็นการแข่งขันเพื่อเตรียมอาหารสำหรับ
ปัจจุบันนี้ก็เป็นที่ทราบกันดีนะคะว่าประเทศไทยของเรากำลังก้าวเข้าสู่ “สังคมอายุยืน” อย่างเต็มรูปแบบ แล้วเราจะทำอย่างไรให้การมีชีวิตยืนยาวนั้นมีคุณภาพ ลดการพึ่งพา และยังมีคุณค่าต่อสังคมเพื่อตอบคำถามนี้ ทางนักวิจัยเอ็มเทค สวทช. ได้ออกแบบนวัตกรรมบ
หากเราพูดถึงปัญหาการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ นับว่าเป็นเรื่องสำคัญที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุภายในบ้าน นอกจากจะเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต หรือการเสื่อมถอยของร่างกายอย่างเฉียบพลันแล้ว ยังส่งผลถึงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและบุคคลในครอบครัวอีกด้วย
ผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย “น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น” ซึ่งเป็นนวัตกรรมสารเคลือบนาโนสูตรพิเศษสำหรับการเคลือบแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อลดการเกาะตัวของฝุ่น ลดภาระการบำรุงรักษา และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้านิตยสารสาระวิทย์ ได้รับเกียรติจ
บริษัท มิว สเปซ แอนด์ แอดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด ดำเนินกิจการภายใต้ชื่อ มิว สเปซ คอร์ป เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนด้านการบินและอวกาศ และให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม ซึ่งก่อตั้งโดย วรายุทธ เย็นบำรุง เมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยมีเป้าหมายที่จะค้นคว้า วิจัย แ
งานวิจัย “การแปลงเปลือกหอยมุกเหลือทิ้งเป็นไบโอแคลเซียมคาร์บอเนต” ผลงานที่เพิ่งได้รับรางวัลเหรียญทองแดง มาจากงาน SIIF 2022 ที่เกาหลีใต้ เป็นงานวิจัยที่เข้ามาช่วยแก้ปัญหาวัสดุเหลือทิ้งให้กับผู้ประกอบการ และยังสร้างโอกาสเชิงพาณิชย์ในการพัฒนาผลิตภั
Rate

Join Podchaser to...

  • Rate podcasts and episodes
  • Follow podcasts and creators
  • Create podcast and episode lists
  • & much more

Unlock more with Podchaser Pro

  • Audience Insights
  • Contact Information
  • Demographics
  • Charts
  • Sponsor History
  • and More!
Pro Features